30 ความแตกต่างระหว่างโรคซึมเศร้า VS โรควิตกกังวล - ดร.นิค dr.nick สุวดี พันธุ์พานิช dr.suwadee

30 ความแตกต่างระหว่างโรคซึมเศร้า VS โรควิตกกังวล

โรคซึมเศร้าโรควิตกกังวล
1. โรคซึมเศร้ามีโอกาสนำไปสู่การคิดสั้นโรควิตกกังวลมีโอกาสนำไปสู่โรคซึมเศร้า
2. ร่างกายเจ็บปวดอย่างไม่มีสาเหตุร่างกายเหงื่อออกอย่างไม่มีสาเหตุ
3. คิดถึงแต่ความสิ้นหวังในชีวิตคิดถึงหลายเรื่องที่เข้ามาในชีวิตพร้อมกัน
4. เคลื่อนไหวช้าแต่มีอาการเหนื่อยง่ายเคลื่อนไหวปกติแต่วิงเวียนศีรษะ
5. สิ่งกระตุ้นที่มีผลต่อจิตใจ บางทีก็ไม่ได้แสดงออกมาทางร่างกายสิ่งกระตุ้นที่มีผลต่อจิตใจ จะตอบสนองต่อร่างกายโดยตรง
6. ภายในหัวจินตนาการถึงอนาคตที่เลวร้ายภายในหัวจินตนาการถึงปัญหาที่ยังไม่ได้รับทางออก
7. ไม่ต้องการเข้าสังคมกับใครเลยหลีกเลี่ยงการเข้าสังคมกับผู้คนโดยปริยาย
8. รู้สึกว่างเปล่าอยู่ตลอดเวลารู้สึกกังวลอยู่ตลอดเวลา
9. มีปัญหานอนไม่หลับตลอดคืน หรือ นอนเยอะกว่าปกติมีปัญหานอนหลับๆ ตื่นๆ ตลอดคืน
10. เฉื่อยชา เซื่องซึมอยู่เป็นนิจกระสับกระส่าย ตื่นตูมอยู่บ่อยๆ
11. รู้สึกหมดหวังในชีวิตรู้สึกตื่นกลัวทุกอย่างในชีวิต
12. มีอาการเจ็บหน้าอกอยู่บ่อยครั้งมีอาการหัวใจเต้นถี่อยู่บ่อยครั้ง
13. โรคซึมเศร้ามี 7 ชนิด (ซึมเศร้า, ไบโพลาร์, ซึมเศร้าหลังคลอด, ซึมเศร้าตามฤดูกาล, ซึมเศร้าจิตหลอน)โรควิตกกังวลมี 5 ชนิด (วิตกกังวลทั่วไป, แพนิค, กลัวสังคม, ย้ำคิดย้ำทำ, กลัวแบบเฉพาะ)
14. หมดความรู้สึกสนใจในสิ่งที่ชื่นชอบโดยสิ้นเชิงกลัวว่าสักวันอาจทำอะไรที่ผิดพลาดกับสิ่งที่ตนชื่นชอบ
15. มีอาการทางจิตใจเยอะกว่ามีอาการทางกายภาพเยอะกว่า
16. คิดและพยายามที่จะจบชีวิตหวาดกลัวการสูญเสีย หรือได้รับอุบัติเหตุ
17. ทุกข์เพราะรู้สึกว่าอนาคตนั้นไร้ทางออกทุกข์เพราะหวาดกลัวกับอนาคตเกินไป
18. ต้องใช้ยาในการรักษาเป็นหลักสามารถรักษาได้ด้วยการเข้ารับจิตบำบัดและยา
19. มักจะพูดค่อย และพูดช้ามักจะพูดรัว เร็ว และถี่
20. ทำลายแรงบันดาลใจและความสุขในชีวิตทำลายระบบการจัดการและความมั่นใจในชีวิต
21. 32.7% ของประชากรทั่วโลกป่วยเป็นโรคซึมเศร้า https://www.springnews.co.th/infographic/81386835.5% ของประชากรทั่วโลกป่วยเป็นโรควิตกกังวล
22. อายุเฉลี่ยที่เสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้ามากที่สุด คือ 25-44 ปีโรควิตกกังวลเสี่ยงเป็นได้ทุกในช่วงอายุ ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้ใหญ่
23. มีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในไทยกว่า 1.5 ล้านคน (สำรวจปี 2564)มีผู้ป่วยโรควิตกกังวลในไทยกว่า 1.6 ล้านคน (สำรวจปี 2556)
24. ครอบครัวที่มีคนเคยเป็นซึมเศร้ามาก่อน อัตราการเป็นจะสูงกว่าคนทั่วไป 3 เท่าพ่อ-แม่ที่เป็นโรควิตกกังวลมาก่อน สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้กว่า 50%
25. มีอารมณ์เศร้าต่อเนื่องอย่างน้อย 2 สัปดาห์วิตกกังวลในทันทีเมื่อเจอเรื่องกระทบใจ
26. มีต้นตอมาจากความเศร้าแบบสุดๆมีต้นตอมาจากความกลัวแบบสุดขีด
27. เพศหญิงมีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้ามากกว่าเพศชายคิดเป็น 1.6 เท่า https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwiU14-4wM35AhWH7DgGHYK3B-gQFnoECAsQAw&url=http%3A%2F%2Fwww.psychiatry.or.th%2FJOURNAL%2F57-1%2F06-Somporn.pdf&usg=AOvVaw0J2Ffi1TXu4m3OC92000leเพศหญิงมีโอกาสเป็นโรควิตกกังวลกว่าเพศชายคิดเป็น 2 เท่า https://www.google.com/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd=&cad=rja&uact=8&ved=2ahUKEwjB1PjOwM35AhWf3TgGHQ-mA7YQFnoECAYQAw&url=https%3A%2F%2Fwww.doctorraksa.com%2Fth-TH%2Fblog%2Fgeneralized-anxiety-disorder&usg=AOvVaw0dVQWXIRGJtxx9xai6UyDq
28. เต็มไปด้วยความเกลียดชังตัวเองเต็มไปด้วยความกระวนกระวายใจในตัวเอง
29. ผู้ป่วยที่เป็นซึมเศร้าเพศชาย มักฆ่าตัวตายมากว่าเพศหญิงผู้ป่วยโรควิตกกังวลเพศหญิง พบได้เยอะกว่าในเพศชาย
30. ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามี 5,793 เคสที่โทรเข้าสายด่วนสุขภาพจิต https://www.creativethailand.org/view/article-read?article_id=32013ผู้ป่วยโรควิตกกังวลมี 23,573 เคสที่โทรเข้าสายด่วนสุขภาพจิต
Facebook
Twitter
LinkedIn
Pinterest

ร้องเรียน - ร้องทุกข์